ความรู้พื้นฐานการผลิตผ้าทอ
ผ้าทอ เป็นการนําเส้นด้ายอย่างน้อย 2 กลุ่มขัดกันโดยด้าย 2 กลุ่ม นั้น ทํามุมฉากกัน ประกอบไปด้วย
- ด้ายที่ยิ่งไปตามยาวของผ้า เรียกว่า เส้นด้ายยืน
- ด้ายที่ตั้งฉากกับเส้นด้ายยืน / อยู่ตามแนวขวางเรียกว่า เส้น ด้ายพุ่ง

ในกระบวนการทอ การข็งหรือดึงเส้นยืนและเส้นพุ่งมักจะมี สิ่งที่แตกต่างไม่เท่ากัน โดนที่เส้นยืนจะความลึงและแข็งแรงกว่า เส้น พุ่งจึงทําให้ส่งผลให้เกิดกับผ้าที่ทอขึ้นมา ที่แตกต่างกัน คือ
- ด้านความเหนียว
- ความคงตัว
- การทนทานต่อการเสียดสี

เส้นยืน หรือ ด้ายยืน (ในการทอผ้า) เป็น เส้นด้ายชุดหนึ่ง ที่ เรียงอยู่ในแนวขวาง โดยจะมีเส้นพุ่งคอยขัดสลับให้กลายเป็นผืนผ้า ในการทอผ้า ผู้ทอจะต้องเcรียมเส้นด้ายยื่นเอาไว้โดยอาจมีความยาว Gามที่ต้อการ โดนการเcรียมด้ายยืนเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และใช้เวลา มาก
ด้ายเส้นยืนมีความสําคัญในการทอผ้าไม่น้อยไปกว่าด้ายเส้น พุ่ง เมื่อเรียมแล้ว จะไม่สามารถเปลี่ยนเส้นด้ายยืน จนกว่าจะทอไป ลอดปืน เส้นยืนโดยทั่วไปจะมีขนาดเล็กกว่าเส้นพุ่ง มักจะใช้ด้ายที่มี คุณภาพสูง มีความทนทาน และเรียบ ไม่ขรุขระ

การเตรียมด้ายยืน
คันเครือเส้นยื่น หรือที่เรียกว่า การเดินเส้นยืน
ในการเสรียมเส้นยืน ผู้ทอจําเป็นต้องรู้จักของจํานวนของช่อง ของฟีม หรือ ฝันหวี เสียก่อนว่ามีจํานวนกี่ช่อง โดย เช่น ฝีม มี จํานวนทั้งหมด 250 ช่อง ผู้ทอจะ ต้องเว้นระยะเข้ามาด้านละประมาณ 5 ช่อง ทั้ง ด้านซ้านและด้านขวา จะเหลือของ ฟื้ม มี จํานวนทั้งหมด 240 ช่อง โดย ช่องแรกและช่องสุดท้าย จะเป็นริมผ้าจะต้องมีความ หนาและแข็งแรงกว่า เส้นด้านใน โดยการเพิ่มจํานวนเส้น เป็นข้างละเส้น เป็น 2 เส้น ผู้ทอจะได้จํานวนเส้น ยืน ทั้งหมด 240 + 2 = 242 เส้น
จํานวนความยาวของเส้นยืน ผู้ทอจะต้องรู้ความยาว ของสิ่งที่จะทอเสีย ก่อน เช่น กรณีการทอผ้าพันคอ โดย ยาวอยู่ที่ 150 - 175 cm ผู้ทอจะต้องเพิ่ม ความยาว อีกประมาณ 50 -75 cm (เผื่อเหลือ-ขาดหรือกรณีการทอมีปัญหา) เช่น ความยาวที่ 150 cm เพิ่มอีก 50 cm จะได้ความยาวที่ 200 cm

จํานวนเส้นยืน 242 เส้น
ความยาวเส้นยืน 200 cm

เมื่อผู้ทอรู้จํานวน เส้นยืน ดังตัวอย่างให้ผู้ทอเสรียม เส้น นําเพื่อ กําหนดความยาวเส้นยืน ยาว 200 cm แล้วนํามาวัดเส้น ที่ระยะที่เครื่องปิ้ง เส้นยืนว่าจะใช้การวนจํานวนกี่รอบและวนกี่ต้น จากนั้นเมื่อรู้จํานวนการวน รอบแล้วให้ผู้ทอนําเส้นด้ายที่จะใช้เป็นเส้นยืนทําการวน เครื่องปิ้งเส้นยืน ดังนี้

ในการวนเส้นยืน ผู้ทอจะต้องวนตามทิศทาง จากจุดเริ่มต้นจนถึงจะจบ หมาย ถึง 1 เส้นยืน ถ้าต้องการได้เส้นยืนจํานวน 242 เส้น จะต้องวนทั้งหมด 242 รอบ เมื่อวนเส้นครบทั้ง 242 เส้น แล้ว ให้ผู้ทอดเส้นยืนที่จะเริ่มต้น เมื่อสัดเรียบร้องแล้ว ผู้ทอจะได้เส้นยืนตามที่ต้องการ

การทอส่วนใหญ่ต้องมีริมผ้า (Selvage) เพื่อป้องกันผ้าลุ่ย ริมผ้าบางอย่างมีลักษณะเหมือนเนื้อผ้าแต่ส่วนใหญ่มักทอให้แข็งแรง กว่าและแน่นกว่าเนื้อผ้าโดยใช้เส้นด้ายยืนที่เหนียวกว่า หรือใหญ่กว่า หรือเรียงเส้นชิดกันมากขึ้น

การทอลาย
ลายขัด

การทอลายขัดเป็นการนําเส้นด้ายจํานวน 2 ชุดมาทอสลับกัน ใช้เส้นด้ายยืน 1 ชุด และด้ายพุ่ง 1 ชุด ใช้ตะกอ 2 Gะกอ เพื่อให้เส้น ด้ายพุ่งสอดใช้เส้นด้ายยืน 1 เส้น แล้วข้ามเส้นด้ายยืนเส้นถัดไป 1 เส้น หรือการให้ลอดเส้นด้ายยืน 1 เส้น ข้ามเส้นด้ายยืน 1 เส้น สลับ กันไปเรื่อยๆ
ผ้าทอลายขัดนิยมใช้มากที่สุด
- โครงสร้างผ้าแน่น เส้นด้ายในผ้าทอลายขัดหลุดลุ่ยได้ยาก
- ค่อนข้างยับง่ายกว่าผ้าทอลายอื่น - ผิวสัมผัสของไม่ค่อยน่าสนใจ ยกเว้น ใช้เส้นด้ายสีต่างกัน เพื่อทาให้เกิดลวดลาย
- ผ้าส่วนมากจะทอแบบลายขิด ทอได้ทั้งเนื้อแน่น
- หลวม
- เนื้อผ้าทอลายขัดจะคล้ายกันทั้งด้านผิดและด้านถูก

- จํานวนเส้นด้ายพุ่งต่อเส้นด้ายยืนอาจเท่ากันบ้าง ต่างกันมาก บ้างน้อยบ้าง สามชนิดของผ้าที่ต้องการทอออกมา
- มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าการทอด้วยวิธีอื่น

ส่วนประกอบหลักของเครื่องทอผ้า
1. เครื่องปิ้งเส้นยืน หรือ แกนม้วนด้ายยืน (Warp beam)
2. ตะะกอ (Heddle)
3. ฝีม (Reed) หรือ ฟันหวี
4. กระสวยด้ายพุ่ง (Shuttle)
5. แกนม้วนผ้าที่ทอแล้ว (Cloth beam)

ขั้นตอนการทอ
เมื่อเตรียมเส้นยืนเรียบร้อยแล้วนําเส้นเส้นยืนหรือด้ายยืนเข้า กับแกนม้วนด้ายยืนเพื่อง่ายและสะดวกต่อการร้อยปลายด้วยเข้าฟื้ม และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในGะกอแต่ละชุด ดึงปลายเส้นด้ายยืน ทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความสิ่งหย่อนให้พอ เหมาะ กรอด้ายเข้ากระสวยเพื่อใช้เป็นด้ายพุ่ง
เมื่อม้วนด้วยเข้าแกนม้วนเรียบร้อยแล้วให้ผู้ทอทําการร้อย ปลายด้านเข้าช่องฟื้มที่ละเส้น จนครบ โดยช่องแรกและช่องสุดท้ายจะ ร้อยด้าย จํานวน 2 เส้นเพื่อความแข็งแรง

เมื่อร้อยปลายด้านเข้าช่องฝีม ครบเรียบแล้ว จากนั้นให้นํา ปลายด้ายไปร้อยกับMะกรอ โดยการร้อย เป็นร้อยทเส้นด้าย 2 Cะกร้อ สลับกันไปจนครบ โดยวิธีการร้อยสลับ ดังนี้

เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่cะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ 1 จะถูก แยก ออกและเกิดช่องว่าง สอดกระสวยด้ายพุ่งผ่าน สลับตะกอชุดที่ 1 ยกตะกอชุดที่ 2 สอดกระสวยด้ายพุ่งกลับ ทําสลับกันไปเรื่อย ๆ
เมื่อสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบฝันหวี เพื่อให้ด้ายพุ่งแนบ ติดกัน ได้เนื้อผ้าที่แน่นหนา
การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกนด้ายยืนให้คลายออกและปรับความสิ่งหย่อนใหม่ ให้พอเหมาะ

เส้นทางเว็บไซต์
* การปรับภูมิทัศน์ ปลูกพันธุ์ไม้ และติดป้าย ในการทำศูนย์เรียนรู้
* การอบรม “การผลิตอาหารข้น แร่ธาตุก้อนเพื่อลดต้นทุน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการเลี้ยงแพะ-แกะ”
* การแปรรูปสัตว์น้ำจืด
* เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารปลอดภัยเพื่อเพิ่มมูลค่า (น้ำตีผลา)
* เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารปลอดภัยเพื่อเพิ่มมูลค่า (เค้กไข่ใต้หวัน)
* อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเส้นใยจากของเหลือการเกษตร
* การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างสื่อวิดีโอคลิปด้วยมือถือเพื่อเพิ่มศักยภาพของเกษตรกรรุ่นใหม่ในการเผยแพร่ศาสตร์พระราชาฯ
* การผลิตเห็ดฟางและเห็ดโคนน้อยด้วยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
* การเพิ่มศักยภาพการเพาะเลี้ยงปลากัด
* การผลิตผักปลอดภัยโดยวิธีผสมผสาน
* การผลิตเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง
* เทคนิคการสร้าง Content และ Fanpage

จำนวนผู้เข้าชม 154 คน
©2021 กลุ่มวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน (IT4CD)
All Rights Reserved. ติดต่อ orasa.t@nrsu.ac.th